โอเปอเรเตอร์สำหรับการคำนวน
ใช้ในการคานวณทางคณิตศาสตร์ ซึ่งโอเปอเรเตอร์บางตัวเราก็คุ้นเคยกันดีอยู่แล้วโอเปอเรเตอร์สำหรับการคำนวนค่า (Assignment)
Assignment เป็นเครื่องหมายสาหรับการกาหนดค่าของตัวแปรทางด้านซ้ายของเครื่องหมายด้วยค่าที่อยู่ทางด้านขวาของเครื่องหมาย
ข้อควรระวังเกี่ยวกับการใช้ ++ และ - ร่วมกับชอร์ตคัต
การเครื่องหมาย ++ หรือ -- ไว้ด้านหน้าหรือหลังตัวแปร หากตัวแปรนั้นอยู่เดี่ยว ๆ ค่าที่ได้จะไม่ต่างกัน เช่น***ความจริงหลักการที่กล่าวมานี้พิจารณาจากลำดับความสำคัญของโอเปอเรเตอร์ ตามที่จะกล่าวถึงในลำดับต่อไป
โอเปอเรเตอร์สำหรับการเปรียบเทียบ (Comparison)
Comparison เป็นเครื่องหมายสำหรับการเปรียบเทียบเพื่อหาค่าความจริงระหว่างข้อมูล 2 อย่าง ซึ่งหากผลการเปรียบเทียบเป็นจริงจะได้ผลลัพธ์เป็น true แต่หากเป็นเท็จจะได้ falseเช่น
โอเปอเรเตอร์ทางตรรกะ (Logic)
เป็นการเปรียบเทียบระหว่าง 2 เงื่อนไข ซึ่งแต่ละเงื่อนไขที่นำมาเปรียบเทียบจะต้องมีค่าเป็น true หรือ false อย่างใดอย่างหนึ่ง และผลลัพธ์ที่ได้ก็จะเป็น true หรือ false อย่างใดอย่างหนึ่งเช่นกันการเปรียบเทียบทางตรรกะนี้สาคัญมากในการเขียนโปรแกรม ซึ่งเราต้องได้ใช้งานกันไปตลอด ดังนั้นขอให้ทำความเข้าใจหลักการตรรกะการเปรียบเทียบนี้ให้ดี ตัวอย่างเช่น
Ternary Operator
Ternary เป็นโอเปอเรเตอร์ในการเปรียบเทียบในอีกลักษณะหนึ่งคือ ถ้าตรงกับเงื่อนไขผลลัพธ์จะเป็นอย่างไร และกรณีที่ไม่ตรงตามเงื่อนไขผลลัพธ์จะเป็นอย่างไร รูปแบบการใช้งาน คือ
หมายความว่า หาก Expression มีค่าเป็นจริงผลลัพธ์จะเป็น x แต่หากเป็นเท็จผลลัพธ์จะเป็น y เช่น
ลำดับความสำคัญของโอเปอเรเตอร์ใน VC#
ในการคำนวณนั้นอาจจะต้องใช้โอเปอเรเตอร์ร่วมกันมากกว่า 1 อย่าง จึงอาจเกิดปัญหาว่าเราจะนำโอเปอเรเตอร์ตัวใดมาพิจารณาก่อน เพราะการวางตำแหน่งหรือจัดกลุ่มที่ต่างกัน ผลลัพธ์ที่ได้ก็อาจแตกต่างกันไปด้วย ดังนั้น การจัดลำดับความสำคัญของโอเปอเรเตอร์เป็นสิ่งที่สำคัญอย่างหนึ่งสำหรับโอเปอเรเตอร์ทั้งหมดที่เราได้ศึกษามา สามารถจัดลำดับความสำคัญได้ดังนี้
ในทางปฏิบัติเพื่อหลีกเลี่ยงความผิดพลาดจากลาดับความสำคัญของโอเปอเรเตอร์ ควรใช้วงเล็บในการจัดแบ่งกลุ่มให้ชัดเจน
ตัวอย่างที่ 3.1
การเปลี่ยนอุณหภูมิจากฟาเรนไฮต์เป็นเซลเซียส โดยมีสูตรการคำนวณคือ 5 * (F - 32)/ 9 และแปลงจากเซลเซียสเป็นฟาเรนไฮต์โดยใช้สูตร (C * 9) / 5 + 321. จัดวางคอนโทรลลงไปบนฟอร์มพร้อมกำหนดชื่อดังรูป
2. ดับเบิลคลิกที่ปุ่ม แปลงเป็นเซลเซียส แล้วกาหนดโค้ดลงไปดังนี้
3. ดับเบิลคลิกที่ปุ่ม แปลงเป็นฟาเรนไฮต์ แล้วกาหนดโค้ดลงไปดังนี้
4.รันโปรแกรม แล้วกาหนดอุณหภูมิในหน่วยที่ต้องการแปลงลงไป เมื่อคลิกปุ่มสาหรับการแปลงในแต่ละ
หน่วย ลักษณะผลลัพธ์เป็นดังนี้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น